คำนาม

1.คำนาม
          คำนาม หมายถึง คำที่ใช้เรียกสิ่งที่เป็นรูปธรรม อาทิ  คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ เช่น คน ต้นไม้ สัตว์ ดาว เดือน เครื่องบิน พะเยา ลำปาง และสิ่งที่เป็นนามธรรม เช่น ความเชื่อ ค่านิยม ความคิด เช่น ความดี ความรู้ สติปัญญา ความเขลา ความงาม ตัวบ่งชี้ ดังนีชี้วัด การปรากฏตามตำแหน่งในประโยคของคำนามนั้น ปรากฏได้ในตำแหน่งประธาน ทำหน้าที่เป็นประธาน และปรากฏในตำแหน่งกรรม ทำหน้าที่เป็นกรรม
          จำแนกได้ 4 ชนิด ได้แก่ คำนามสามัญ คำนามวิสามัญ คำลักษณะนาม และคำอาการนาม มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1.1 คำนามสามัญ
          คำนามสามัญหรือสามานยนาม เป็นคำนามที่ใช้เรียกสิ่งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมทั่วไป มิได้จำเพาะลงไปว่าเป็นสิ่งใด ชื่อใด เช่น โรงเรียน มหาวิทยาลัย สมุด บ้าน วัด พัดลม ข้าว
1.2 คำนามวิสามัญ
          คำนามวิสามัญหรือวิสามานยนามเป็นคำนามที่ใช้เรียกรูปธรรมและนามธรรมเช่นกัน แต่จะจำเพาะเจาะจงลงไปว่าเป็นสิ่งใด ชื่อใด เช่น พะเยา แม่ฟ้าหลวง เนชั่น ภาคกลาง เจ้าพระยา เป็นชื่อเฉพาะของมหาวิทยาลัย ภาษาไทย๓ษาจีน ภาษาฝรั่งเศส การศึกษา พัฒนาสังคม เป็นชื่อเฉพาะของสาขาวิชาในคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ส่วนใหญ่แล้วคำวิสามัญมักใช้เป็นชื่อเฉพาะของคำนามวิสามัญ แต่ทั้งนี้ก็มิใช่ว่าคำนามสามัญต้องมีชื่อเฉพาะเสมอไป เช่น การแกล้งดิน ความรู้ ดวงจันทร์ โลก อวกาศ เป็นนามสามัญที่ไม่มีชื่อเฉพาะ
          1.3 คำลักษณะนาม
          คำลักษณะนามเป็นคำที่ใช้บอกลักษณะของคำนามหรือคำกิริยา เช่น ใบ ดอก ผล ตัว อัน ชื้น เรื่อง เล่ม นอกจากนี้ยังใช้บอกหมวดหมู่ กลุ่ม หรือพวกของคำนามได้ด้วย คำลักษณะนามประการหลังนี้แต่เดิมเรียกว่าสมุหนาม เช่น กลุ่มพวก คณะ ฝูง โขลง
          1.4 คำอาการนาม
          คำอาการนาม หมายถึง คำนามที่เกิดจากการแปลงคำกริยาให้เป็นคำนาม โดยเติมคำว่า การ หรือ ความ ลงไปข้างหน้า เมื่อคำดังกล่าวเป็นคำนามและมีความหมายและมีหน้าที่เหมือนกับคำนาม คำอาการนาม เช่น ความรู้ การเรียน ความดี การตระหนักคิด
          คำอาการนามที่เกิดจากการเติม การ หน้าคำกิริยานั้นมักแสดงกระบวนการในการทำกิริยา ในกรณีนี้เราไม่อาจเติม ความ ลงไปแทนที่ได้เพราะนอกจากไม่สื่อความหมายแล้วยังผิดไวยากรณ์ของภาษาด้วย
          ส่วนอาการนามที่เกิดจากการเติม ความหน้าคำกิริยานั้นมักแสดงสภาพหรือลักษณะรวมๆ ของกิริยานั้น เช่นเดียวกับเราไม่อาจเติม การลงไปแทนที่ได้ เพราจะไม่สื่อความหมายและผิดไวยากรณ์ 

35 ความคิดเห็น:

  1. คำตอบ
    1. 5กมายถึงคําที่ใช้เรียกคําอะไรก็ได้เเต่เเตกต่าวจากพวกเช่นสามัญวิสามัญอะไรเเบบนี้เท่าไม่เท่าไม่เกี่ยวววจร้า

      ลบ
    2. 5.คือสมุหนามค่ะ จะใช้คล้ายๆกับลักษณะนาม รูปประโยคของสมุหนามเช่น ฝูงนก กองฟืน เเต่ถ้าคำพวกนี้อยู่หลังจำนวนจะกลายเป็นลักษณะนามทันทีค่ะ เช่น นก1ฝูงค่ะ

      ลบ
    3. เริ่มเข้าใจชนิดของคำนามแล้วค่ะ

      ลบ
    4. งงกว่าเดิมจร้า

      ลบ
    5. ศ.ดร.วิจินต์แบ่งไว้ 4 แบบ

      ลบ
  2. ดีมากครับ อ่านเเล้วเข้าใจเรื่องคำนาม

    ตอบลบ
  3. ไม่ระบุชื่อ12 กรกฎาคม 2563 เวลา 06:14

    ทำไมมี4

    ตอบลบ
  4. คำนามสามัญมีอะไรบาง

    ตอบลบ
  5. สูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตรสูตร

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. สาสาสาสาสาสสาาาสสสาาสาสาสาสาาสาสาวว่าิ้ืิ้่ามใสมฝวง

      วว่้า่้เ่า่าา้ใใใ่าา่าา ิ

      ลบ
  6. ทำไมขอป.ไม่มีแบบนี่เลยค่ะ
    แล้วชื่อโรงเรียนของหนูก็ชื่อโรงเรียนพระยามนธาตุราชาศรีพิจิตร์ชื่อยาวมาค่ะ

    ตอบลบ
  7. ไม่ระบุชื่อ15 กรกฎาคม 2564 เวลา 06:44

    O kay okay

    ตอบลบ
  8. อ่านเเล้วงงหนักกว่าเดิม55

    ตอบลบ
  9. ผมเข้าใจแล้วครับ

    ตอบลบ
  10. ดวงจันทร์เป็นคำนามวิสามัญใช่มั้ยคะ

    ตอบลบ
  11. หนุมานเป็นคำนามอะไรคะ

    ตอบลบ